ของเหลวนี้คือ
ก. เอทำนอล ข. กรดแอซิติก
ค. เอทิลแอซีเตด ง. อีเทน
ตอบ ก
วิธีคิด เอทานอลคือ Alcohol สามารถทำ ปฏิกิริยากับโลหะ Na และมีฤทธิ์เป็นกลาง pH = 7
คำชี้แจง ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ประกอบการตอบคำ ถาม ข้อ 2-3
สาร ก + สาร ข สาร ค
สาร ค ไฮโดรไลซ์ด้วย NaOH ได้สาร ก + สาร ข
สาร ข ทำ ปฏิกิริยากับ ให้ NaHCO3
สาร ข ทำ ปฏิกิริยากับโลหะ Na และ NaOH ได้
สาร ค มีจำนวนอะตอมเท่ากับ 7
2.สาร ค คืออะไร
ก. แอลเคน ข. แอลคีน
ค. แอลกอฮอลล์ ง. เอสเทอร์
ตอบ ง
วิธีคิด สาร ก = แอลกอฮอลล์
สาร ข = กรดอินทรีย์
สาร ค = เอสเทอร์
3. สมบัติต่อไปนี้ควรเป็นสาร ก. ทั้งสิ้น ยกเว้นข้อใด
ก. ทำปฏิกิริยากับ ให้ ข. ทำปฏิกิริยากับโลหะ Na ให้
ค. ลุกไหม้ให้เปลวสว่างไม่มีเขม่า ง. เตรียมจากแอลคีนได้
ตอบ ก
4. สารอินทรีย์ (X) ถูกใช้เป็นสารกันบูดในขนมปังขึ้นราสารนี้ละลำยได้ในน้ำแต่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH เมื่อนำสารละลำยของ (X) มาเติมกรด ให้มากพอแล้วนำไปต้มกับเอทานอล จะได้สารประกอบที่มีกลิ่นหอมชวนดม สาร(X) คืออะไร
ก. กรดอินทรีย์ ข. แอลกอฮอลล์
ค. เอสเทอร์ ง. เกลือของกรดอินทรีย์
ตอบ ง
วิธีคิด RCOONa + H2SO4 --> RCOOH +Na2SO4
เกลือของกรดอินทรีย์
RCOOH + OH RCOOC2H5 + H2O
เอทานอล เอสเทอร์
(น้ำหอม)
5. สารอินทรีย์ซึ่งมีสูตรโมเลกุล O ตัวที่คาดว่าจะมีค่าจุดเดือดสูงที่สุด คือ
ก. กรดอินทรีย์ ข. แอลกอฮอลล์
ค. เอสเทอร์ ง. คาร์โบไฮเดรต
ตอบ ข
6.สารอินทรีย์ตัวอย่างเป็นของเหลวมีประจุเดือด 110องศาเซลเซียส ละลายน้ำได้ดีมาก สารละลายที่ได้เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นแดง สารนี้ให้ฟองแก๊สกับโลหะโซเดียมและสารละลายของNaHCO3 สารตัวอย่างดังกล่าวคือสารใด
ก.CH3CH2OH ข. CH3CHO
ค.CH3CH2COOH ง.HOCH2CHOHCH2OH
ตอบ ค
วิธีคิด กรดอินทรีย์ (R-COOH) เป็นกรดอ่อน สามารถทำปฏิกิริยำกับโลหะ Na และ Na ได้
7. เมื่อนำสารประกอบ X ที่เกิดจากกระบวนการหมักน้ำตาลทรายด้วยเอนไซม์ในภาชนะปิด
มาทำปฏิกิริยำกับกรดโพพาโนอิก ณ จุดสมดุลในส่วนผสมจะประกอบด้วย กรด น้ำ
ก.CH3COOCH2CH2CH3 ข.CH3CH2OOCCH2CH3
ค.CH3CH2COCH2OCH3 ง.(CH3O2)CHCH2CH3
ตอบ ข
วิธีคิด X คือเอทานอล เพราะเป็นสารที่ได้จากการหมักน้ำตาลด้วยเอนไซม์ในภาชนะปิด
นำเอาทำนอลทาปฏิกิริยากับกรดโพรพาโนอิก เกิดปฏิกิริยาดังสมการ
C2H5OH + C2H5COOH --> C2H5OOCC2H + H2O
(เอทานอล) (กรดโพรพาโนอิก)
8. สาร A ละลายน้ำได้ดี เมื่อทำปฏิกิริยากับโซมเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเกิดฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในขณะที่สาร B ไม่ทำปฏิกิริยำกับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
แต่ทำปฏิกิริยำกับโลหะโซเดียมเกิดฟองแก๊ส เมื่อให้ A ทำปฏิกิริยากับ B เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่คือ C พร้อมกับการสูญเสียน้ำ 1 โมเลกุล ข้อใดผิด
ก. สุตรโครงสร้างของ A และ B ที่เป็นไปได้คือ CH3CH2CO2H
ข. ผลิตภัณฑ์ C ละลำยน้ำได้ดี
ค. C ไม่ทำปฏิกิริยาทั้งกับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตและโลหะโซเดียม
ง. เมื่อนำ C ไปทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดจะเกิดจะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสกลับมาเป็น A และ B
ตอบ ข
วิธีคิด C เป็นเอสเทอร์ โจทย์ไม่บอกจำนวนคำร์บอน ดังนั้นจึงยังสรุปเรื่องกำรละลำยน้ำของสำร C เพรำะถ้ำมีจำนวนคำร์บอนมำก สำร C ก็อำจจะไม่ละลำยน้ำ
9. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยำสะปอนนิฟิเคชันของเอทิลบิวทาโนเอตด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์คือ
ก. CH3CH2OH + CH3CH2CH2CO2Na
ข. CH3CH2ONa + CH3CH2CH2CO2H
ค. CH3CH2CH2CH2OH + CH3CO2Na
ง. CH3CH2OH + CH3CH2CH2CO2Na
ตอบ ก
วิธีคิด C3H7COOC2H5 + NaOH --> C3H7COONa + C2H5OH
(เอทิลบิวทำโนเอต)
10. บิวทานาไมด์(CH3CH2CH2CONH2) เป็นของเหลวที่ไม่ละลายน้ำ แต่ถ้านำมาต้มกับกรดเกลือเจือจาง พบว่าได้ของผสมที่ละลายเป็นเนื้อเดียวกัน ทั้งนี้เพราะ
ก. บิวทานาไมด์ทำปฏิกิริยากับกรดเกลือให้เกลือของบิวทานาไมด์ซึ่งละลายน้ำได้ดี
ข. บิวทานาไมด์ละลายได้ดีในน้าร้อน
ค. บิวทานาไมด์แตกตัวได้ผลิตภัณฑ์ที่ละลายน้ำได้ดี
ง. บิวทานาไมด์ซึ่งอยู่เหนือน้ำระเหยไปหมด จึงเหลือแต่กรดเกลือเจือจาง
ตอบ ก
วิธีคิด CH3CH2CH2CONH2 + HCl --> CH3CH2CH2CONH3+Cl-
(บิวทานาไมด์) (กรดเกลือ) (เกลือบิวทานาไมด์)
11. สาร A มีสูตรโมเลกุล C7H12 สาร A ฟอกสีโบรมีนได้อย่างรวดเร็ว ให้สาร B มีสูตร C7H12Br2 สาร A ทำปฏิกริยากับสารละลายโพปทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ให้สาร C มีสูตร C7H14O2 สาร C ทำปฏิกริยากับโลหะโซเดียมให้แก๊สไฮโดรเจน แต่ไม่ทำปฏิกริยากับสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต สารA ควรเป็นสารในข้อใด
1. สารประกอบแอลคีนโซ่เปิดที่พันธะคู่
2 พันธะ
2. สารประกอบแอลคีนที่มีโครงสร้างเป็นวง
และมีพันธะคู่ 1 พันธะ
3. สารประกอบแอลไคน์
4. สารประกอบอะโรมาติก
ข้อใดถูกต้อง (ENT’มี.ค.44)
ก.
1 และ 2 ข. 2เท่านั้น ค. 3 ง. 4
เฉลย ข. 2 เท่านั้น
ก. แอลกอฮอลล์ และอีเทอร์ ทดสอบด้วยสารละลาย NaHCO3ข. แอลเคน และแอลคีน ทดสอบด้วยสารละลาย KMnO4ค. กรดอินทรีย์ และกรดไขมัน ทดสอบด้วยโลหะ Naง. มีคำตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ
เฉลย ข.
แอลเคน ไม่ทำปฏิกิริยากับ KMnO4 ส่วนแอลคีนฟอกสี KMnO4 ได้

13.ธาตุชนิดหนึ่งเป็นของเหลวสีน้ำตาลแดง สามารถภูกฟอกสีได้เมื่อทำปฏิกิริยากับเอทิลีน และเมื่อทำปฏิกิริยากับ Na2S ให้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของแข็งสีขาวกระจายในน้ำ ถ้าธาตุดังกล่าวหนัก 4 กรัม ควรทำปฏิกิริยาได้พอดีกับโพแทสเซียมหนักกี่กรัม (ENT’28)
ก.
1.23 ข. 1.95 ค. 4.39 ง. 8.12
เฉลย
ข
14. เมื่อชั่งกรดคาร์บอกซิลิกไม่อิ่มตัว 4
ชนิด ต่อไปนี้มีน้ำหนักเท่ากัน (ENT’38)
1. C3H4O2
(มวลโมเลกุล 72) 2. C10H16O2
(มวลโมเลกุล 168)
3. C18H30O2
(มวลโมเลกุล278) 4. C20H32O2(มวลโมเลกุล
304)
นำมาทำปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนในเฮกเซนปริมาณของโบรมีนที่ใช้กับกรดแต่ละชนิดเป็นอย่างไร
ก. 1 > 2 > 3 > 4 ข. 1 > 4 >
2 > 3
ค. 4 > 3 > 2 > 1 ง. 3 > 2 >
4 > 1
เฉลย
ข
15.กรดคาร์บอซิลิกที่อิ่มตัวต้องมีสูตร CnH2nO2
สารตัวที่ 1, 2, 3, 4 มี H หายไป 2,
4, 6, 8 ตามลำดับ ฉะนั้น Br2
จึงเข้าแทรกได้ 2, 4, 6, 8 ตัว ต่อสาร 1 mol ตามลำดับ แต่คำตอบไม่ใช่ ข้อ
ค. เนื่องจากโจทย์ไม่ได้ถามต่อสาร 1 mol แต่ถามต่อสารที่หนักเท่ากัน
สารประกอบ A มี C 54.5% และ H 9.1%
ถ้าให้สาร A ทำปฎิกิริยากับ Na จะได้แก๊ส H2 แต่ถ้าสาร A
ทำปฏิกิริยากับ NaHCO3 จะได้แก๊ส CO3
และถ้าสูตรโมเลกุลของสาร A เป็น 2 เท่าของสูตรเอมพิริคัล สาร A จะมีมวลโมเลกุลเท่าใด
(ENT’มี.ค.46)
เฉลย 88
C : H : O
4.45 : 9.1 : 2.27
2 : 4 : 1
สูตรเอมพิริคัล คือ C2H4O
สูตรโมเลกุลเป็น 2 เท่า คือ C4H8O2
มวลโมเลกุล = 88
16. เมื่อสารละลายกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีเนื้อกรด
0.15 กรัม เติมลงในโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 56 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ STP กรดนั้นอาจเป็นกรดใด
(ENT’37)
ก. เมทาโนอิก ข. เอทาโนอิก
ค.โพรพาโนอิก ง. บิวทาโนอิก
เฉลย ข
17.การเปรียบเทียบคุณสมบัติของเหลว 3 ชนิดคือ เพนเทน เฮกเซน และเพนทานอลข้อใดถูกต้อง
ก. ความดันไอ เพนเทน >เฮกเซน>เพนทานอล
ข. แรงยึดระหว่างโมเลกุล เฮกเซน>เพนทานอล>เพนเทน
ค. ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ เฮกเซน>เพนเทน>เพนทานอล
ง. ถ้านำของเหลวทั้ง 3 ชนิด มากลั่นลำดับส่วนจะได้ เพนเทน เพนทานอล และเฮกเซน ออกมาตามลำดับ
เฉลย ก
วิธีคิด ความดันไอ แปรผกผันกับจุดเดือด
จุดเดือด :C3H8 >C6H14>C3H7OH
(เพนเทน)(เฮกเซน)(เพนทานอล)
ดังนั้น ความดันไอ : C3H8 >C6H14>C3H7OH
18.ข้อใดถูกต้องมากที่สุด
ก. เมทานอลมีสมบัติเป็นกลาง ยืนยันได้จากการทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสที่ชื้นโดยสีของกระดาษจะไม่เปลี่ยนแปลง
ข. เอทานอลมรสมบัติเป็นกรดอ่อน เพราะสามารถสร้างพันธะไฮโดรเจนได้กับน้ำ
ค. โพรพานอลมีสมบัติเป็นกรดอ่อน เพราะสามารถทำปฏิกิริยากับโซเดียมไฮดรอกไซด์ซึ่งเป็นเบสแก่ให้เกลือกับน้ำ
ง. บิวทานอลมีสมบัติเป็นกรดอ่อน เพราะสามารถทำปฏิกิริยากับโซเดียมให้แก๊สไฮโดรเจน
เฉลย ก
19. สารอินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุลอย่างง่ายสารใดทำปฏิกิริยากับ NaHCO3 แล้วสารที่ได้สามารถทำให้น้ำปูนใสขุ่น
ก. CH2O
ข. CH5N
ค. C2H6O
ง. C2H6O2
เฉลย ก
20. ปฏิกิริยาระหว่างกรดซาลิกซิลิกกับเมทานอลโดยมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเกิดขึ้นโดย
1. มีเมทิลซาลิซิเลต และน้ำเป็นผลิตภัณฑ์
2. เมทิลซาลิซิเลตเป็นผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ และน้ำเป็นผลิตภัณฑ์ส่วนน้อย
3. ได้เมทิลซาลิซิเลตและน้ำ พร้อมกับยังคงมีกรดซาลิซิลิก และเมทานอลเหลือกลับคืนมา
4. กรดซาลิซิลิกและเมทานอลทั้งหมด เปลี่ยนไปเป็นเมทิลซาลิซิเลตและน้ำ ถ้าใช้เวลาต้มให้นานเกินพอ
ข้อที่ถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยานี้คือข้อใด
ก. 1 และ 2
ข. 1 และ 3
ค. 1 และ 4
ง. 1 2 3 และ 4
เฉลย ข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น